ครั้งที่ 5 วันที่ 4 ธันวาคม 2555
ความรู้ที่ได้รับ
-อาจารย์ดูงานที่สั่งเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว
-อาจารย์ให้ส่งตัวแทนออกไปเล่าความเรียงหน้าชั้น
-อาจารย์สั่งงานให้สอนเดี่ยว โดยในสมาชิกในกลุ่มตกลงเลือกสอนคนละ 1 วัน แต่คนสอน 20 นาที
เนื้อหางานที่อาจารย์ให้เขียน
เด็กๆค่ะมีนาฬิกาอยู่ในบ้านของเด็กๆกี่เรือนแล้วเด็กเคยสังเกตรึป่าวค่ะว่า
นาฬิกาที่บ้านของเด็กๆมีรูปทรงอะไรบ้าง แล้วมีนำหนักเท่าไร ให้เด็กๆ
นำนาฬิกาข้อมือที่เป็นดิจิตอลมาวางบนโต๊ะ แล้วเด็กรู้ไม่ค่ะว่านาฬิกา
กลุ่มนี้ทำมาจากไม้ เด็กเห็นนาฬิกาอันนี้ไม่ค่ะคุณครูจะแบ่งครึ่งออกเป็น
2ส่วนแต่ละส่วนมีตัวเลขอะไรบ้างค่ะเด็กๆแล้วเลข9 อยู่ใกล้เลขอะไรบ้าง
เด็กๆเห็นไม่ค่ะว่าทรายในนาฬิกามีจำนวนเท่าเดิมแม้จะกลับด้าน
การเขียนแผนการสอนและการสอน
ขั้นนำควรจะนำด้วยเพลง นิทาน เกมส์
การสอนควรสอนให้เป็นลำดับขั้นตอนบางวัน
อาจจะสอนไม่ครบทั้ง12ข้อเช่น
จะสอนเรื่องชนิด>นับจำนวน>เอาตัวเลขมาแทนค่า
>แยกประเภท>เปรียบเทียบ>วัด
มีการใช้สัญลักษณ์
เด็กแรกเกิด-2ปีใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5
2-4 ใช้ภาษา ,มีลำดับ
4-6พูดเป็นประโยคที่คนเข้าใจเหตุผล
แฟ้มสะสมผลงานการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันศุกร์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนครั้งที่4
ครั้งที่4 วันอังคารที่ 27 พฤศจิกายน
ความรู้ที่ได้รับ
- อาจารย์ แจกกระดาษให้เขียนมายเม็มหน่วย
ของตัวเอง
- อาจารย์ออกไปนำเสนองานที่สั่งเมื่ออาทิตย์ที่แล้ว
หัวข้อที่นำเสนอ
หน่วย นาฬิกา
1.นับ
มีนาฬิกาอยู่ในบ้านกี่เรือน
2.ตัวเลข
เลข 9 อยู่ใกล้เลขอะไรในนาฬิกา
3.ประเภท
นำนาฬิกาที่เป็นดิจิตอลไปวางบนโต๊ะและนำนาฬิกาแบบเข็มไปแขวน
4.เปรียบเทียบ
นาฬิกาตั้งโต๊ะกับนาฬิกาข้อมืออันไหนใหญ่กว่ากัน
5.เรียงลำดับ
เรียงตัวเลขจากน้อยไปหามาก
6.รูปทรงและเนื้อที่
นาฬิกาในบ้านมีรูปทรงอะไรบ้าง
7.การวัด
นาฬิกามีน้ำหนักเท่าไร
8.จับคู่
นำนาฬิกาดิจิตอลไปใส่ในกล่องรูปดาว
9.เซต
นาฬิกาแขวนฝาผนังและนาฬิกาข้อมือ
ส่วนใหญ่ทำมาจากวัสดุที่ทำจากไม้
10.เศษส่วน
มีนาฬิกา10เรือนแบ่งเป็นสองส่วนเท่าๆกัน
11.การทำตามแบบ
ให้เด็กวาดรูปนาฬิกาในกรอบสี่เหลี่ยม
12.การอนุรักษ
เมื่อเวลาผ่านไปทรายในนาฬิกายังเท่าเดิม
งานที่ได้รับมอบหมา
นำทั้ง12ข้อไปเขียนเป็นความเรียง
ความรู้ที่ได้รับ
- อาจารย์ แจกกระดาษให้เขียนมายเม็มหน่วย
ของตัวเอง
- อาจารย์ออกไปนำเสนองานที่สั่งเมื่ออาทิตย์ที่แล้ว
หัวข้อที่นำเสนอ
หน่วย นาฬิกา
1.นับ
มีนาฬิกาอยู่ในบ้านกี่เรือน
2.ตัวเลข
เลข 9 อยู่ใกล้เลขอะไรในนาฬิกา
3.ประเภท
นำนาฬิกาที่เป็นดิจิตอลไปวางบนโต๊ะและนำนาฬิกาแบบเข็มไปแขวน
4.เปรียบเทียบ
นาฬิกาตั้งโต๊ะกับนาฬิกาข้อมืออันไหนใหญ่กว่ากัน
5.เรียงลำดับ
เรียงตัวเลขจากน้อยไปหามาก
6.รูปทรงและเนื้อที่
นาฬิกาในบ้านมีรูปทรงอะไรบ้าง
7.การวัด
นาฬิกามีน้ำหนักเท่าไร
8.จับคู่
นำนาฬิกาดิจิตอลไปใส่ในกล่องรูปดาว
9.เซต
นาฬิกาแขวนฝาผนังและนาฬิกาข้อมือ
ส่วนใหญ่ทำมาจากวัสดุที่ทำจากไม้
10.เศษส่วน
มีนาฬิกา10เรือนแบ่งเป็นสองส่วนเท่าๆกัน
11.การทำตามแบบ
ให้เด็กวาดรูปนาฬิกาในกรอบสี่เหลี่ยม
12.การอนุรักษ
เมื่อเวลาผ่านไปทรายในนาฬิกายังเท่าเดิม
งานที่ได้รับมอบหมา
นำทั้ง12ข้อไปเขียนเป็นความเรียง
วันพุธที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่3
วันอังคารที่ 20 พฤศจิกายน 2555
ความรู้ที่ได้รับ
ส่งงานที่สั่งเมื่ออาทิตย์ที่แล้ว
อาจารย์แนะนำและอธิบายเกี่ยวกับงานที่ส่ง
-การคิดหน่วยที่จะสอนคิดขึ้นเพื่อเป็นทุ่นลอย
ในการที่จะสอน
-เกณฑ์ในการแบ่งประเภท
-สี -ขนาด -ลักษณะ -การใช้งาน
-รูปทรง -พื้นผิว -วัสดุที่ใช้
-ประโยชน์
มีประโยชน์ในตัวมันเอง
มีประโยชน์ในการประยุกต์ใช้
-เพื่อนออกมาร้องเพลง โปเล โปลา
โปเล่ โปเล โปเล โปลา
โปลา โปลา โปเล เด็กน้อย
ยื่น 2 แขนมา มือซ้ายขวา
ทำเป็นคลื่นทะเล ปลาวาฬ
พ่นนำ้เป็นฝอย ปลาเล็กปลาน้อย
ว่ายตามมา ปาวาฬนับ 123
ใครว่ายน้ำตามปลาวาฬจับตัว
จากเพลงนี้ได้คณิตศาสตร์
-การนับปากเปล่า การนับ123
-ทิศทาง ,ตำแหน่งซ้าย ขวา
ความรู้ที่ได้รับ
ส่งงานที่สั่งเมื่ออาทิตย์ที่แล้ว
อาจารย์แนะนำและอธิบายเกี่ยวกับงานที่ส่ง
-การคิดหน่วยที่จะสอนคิดขึ้นเพื่อเป็นทุ่นลอย
ในการที่จะสอน
-เกณฑ์ในการแบ่งประเภท
-สี -ขนาด -ลักษณะ -การใช้งาน
-รูปทรง -พื้นผิว -วัสดุที่ใช้
-ประโยชน์
มีประโยชน์ในตัวมันเอง
มีประโยชน์ในการประยุกต์ใช้
-เพื่อนออกมาร้องเพลง โปเล โปลา
โปเล่ โปเล โปเล โปลา
โปลา โปลา โปเล เด็กน้อย
ยื่น 2 แขนมา มือซ้ายขวา
ทำเป็นคลื่นทะเล ปลาวาฬ
พ่นนำ้เป็นฝอย ปลาเล็กปลาน้อย
ว่ายตามมา ปาวาฬนับ 123
ใครว่ายน้ำตามปลาวาฬจับตัว
จากเพลงนี้ได้คณิตศาสตร์
-การนับปากเปล่า การนับ123
-ทิศทาง ,ตำแหน่งซ้าย ขวา
วันอังคารที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่2
วันอังคารที่ 13 พฤศจิกายน 2555
ความรู้ที่ได้รับ
ภาษา+คณิตศาตร์ =เครื่องมือในการถ่ายทอด
บทบาทของครูในการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์
-การวางแผน
-การสร้างตัวแทน
-รอบคอบ
การจัดประสบการณ์
-เทียบเคียงให้อยู่ในชีวิตประจำวันให้อยู่บนหลักการของคณิตศาสตร์
-ทำให้เด็กเข้าใจถึงหลักการ
-การสอนควรเป็นลำดับขั้นตอน
เด็กเรียนรู้ตามแบบอย่าง(การเลียนแบบ)
ครูควรจัดเกณฑ์เพียงเกณฑ์เดียวเพื่อให้เด็กจัดลำดับได้ง่าย
การบรูณาการณ์
-เพลง ในการสอนคณิตศาสตร์เพลงจะเป็นสื่อในการสอนกิจกรรมเคลื่อนไหว
-เกมการศึกษา
-จับคู่=ภาพเหมือน -Domino=การต่อโดยใช้ปลาย
-เรียงลำดับ -จิ๊กซอ -อุปมาอุปมัย
-เกมกลางแจ้ง มี2ประเภท
1เบ็ตเล็ต =เกมที่ไม่มีรูปแบบกติกามากมาย
2ผลัด
-กิจกรรมเสรี
วันจันทร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่1
วันอังคารที่ 6 พฤศจิกายน 2555
ความรู้ที่ได้รับ
- อาจารย์ตั้งข้องตกลงในการเข้าเรียน- อาจารย์อธิบายเกี่ยวกับการสร้างบล็อก
- เขียนเกี่ยวกับการเรียนวิชาการจัดประสบการณ์ทาง คณิตศาสตร์ว่าควรเรียนรู้อะไรบ้าง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)